กลัวว่าเงินเกษียณจะไม่พอหรือเปล่า ??
ไม่มีใครอยากจะพบกับฝันร้ายในวัยเกษียณ เมื่อค้นพบว่าเงินที่เตรียมไว้น้อยเกินไป ไม่เพียงพอกับการดำรงชีวิตอย่างสุขสบาย หรือหมดลงอย่างรวดเร็วจนน...
18 ความเสี่ยงที่ทำให้เงินเกษียณหมดเร็วขึ้น
Tags: เกษียณอายุ, market risk
แบ่งความเสี่ยงออกเป็น 6 กลุ่ม
- OUTLIVING RESOURCES -
1. Longivity Risk คาดการ์ณอายุหลังเกษียณไว้น้อยเกินไป การมีชีวิตอยู่ยาวนาน จะรับทุกความเสี่ยงได้เพิ่มขึ้นได้อีกหลายเท่า
2.Inflation Risk ภาวะเงินเฟ้อทำให้อำนาจการใช้จ่ายลดลง เงินอาจจะหมดเร็วขึ้น ถึงแม้จะใช้จ่ายเท่าเดิม
3.Excess Withdrawal Risk การถอนเงินมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ เนื่องจากผลตอบแทนในการลงทุนต่ำเกินไป ไม่เพียงพอใช้จ่าย จึงต้องถอนเงินต้นออกมาใช้ร่วมด้วย ทางที่ดีควรวางแผนการถอนเงินให้ต่ำกว่า สภาวะผลตอบแทนการลงทุนที่ได้รับในปีนั้นๆ
- AGING -
4.Health Expense Risk ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลในส่วนเกินของสวัสดิการที่มีอยู่ รวมถึงเบี้ยประกันสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ซึ่งต้องเตรียมไว้จ่ายในวัยเกษียณ
5.Long Term Care Risk ค่ารักษาพยาบาลระยะยาวจากการเป็นผู้ป่วยติดเตียง หรืออยู่ในภาวะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ต้องจ้างคนดูแล หรือ จ่ายให้กับ Day Care หรือ ทำให้คนในครอบครัวขาดรายได้ เนื่องจากต้องออกจากงานมาดูแล
6.Frality Risk ความเสี่ยงในความเสื่อมของร่างกาย ทำให้ การตัดสินใจในเรื่องการจัดการการเงิน การดูแลที่อยู่อาศัย ลดประสิทธิภาพลง การลืมดิวจ่ายบิลต่างๆ ทั้งหมดนี้ อาจจะเกิดความเสียหาย เสียผลประโยชน์ได้
- INVESTMENT -
7.Financial Elder Abuse Risk การถูกละเมิดจากคนใกล้ชิด คนที่ดูแลผลประโยชน์ให้ อาจจะพยายามเข้ามาจัดการทรัพย์สินของผู้สูงอายุโดยพลการ
8.Market Risk ความเสี่ยงที่เงินจะหดหายจาก ความผันผวนของการลงทุนในตลาด
9.Interest Rate Risk สำหรับคนที่ลงทุนในพันธบัตร และตราสารหนี้ต่างๆ จะมีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย
- WORK -
10.Liquidity Risk ความเสี่ยงของการขาดสภาพคล่อง ไม่สามารถแปลงทรัพย์สินที่มีอยู่เป็นเงินสดตามต้องการได้ทันเวลา
11.Sequence of Returns risk ความเสี่ยงของผลตอบแทนจากการลงทุนที่ผันผวน ในช่วงต้นของการถอนเงินใช้วัยเกษียณ หากเป็นช่วงตลาดตกต่ำพอดี เงินเกษียณจะหมดเร็วกว่า คนที่เกษียณและถอนเงินใช้ในช่วงตลาดขาขึ้น
12.Forced Retirement Risk การถูกบังคับให้เกษียณจากงานประจำก่อนอายุเกษียณจริง สาเหตุเนื่องจากปัญหาสุขภาพของตนเอง หรือ ปัญหาสุขภาพคนในครอบครัวที่ต้องดูแล บริษัทที่เป็นนายจ้างประสบปัญหาการเงิน lay off พนักงาน ส่งผลให้ ยังเก็บเงินได้ไม่เพียงพอ และ สวัสดิการต่างๆจากที่ทำงาน หมดเร็วกว่าที่คิดไว้
- FAMILY -
13.Reemployment Risk วางแผนไว้ว่าจะทำงานหลังเกษียณ แต่ไม่สามารถทำได้เพราะสุขภาพไม่อำนวย
14.Employer Insolvency Risk นายจ้างมีปัญหาทางการเงิน ทำให้เงินเกษียณสะสมที่คาดหวังจะได้รับจากนายจ้าง มีมูลค่าต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้
15.Loss of Spouse Risk การสูญเสียคู่สมรสที่เป็นที่พึ่งทางการเงินและการใช้ชีวิต
- OTHER -
16.Responsibility Risk ค่าใช้จ่ายทางสังคมต่างๆที่ไม่คาดคิด เงินใส่ซองงานต่างๆ หรือ มีภาระต้องดูแลคนในครอบครัว เช่น ลูกเอาหลานมาให้เลี้ยง
17.Timing Risk จังหวะเวลาในการเกษียณ เป็นช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำพอดี ทำให้เงินกองทุน PVD หรือ RMF มีมูลค่าต่ำกว่าที่ควร ทางที่ดีควรใช้เงินก้อนอื่นก่อน และทิ้งเงินก้อนนั้นไว้ รอเวลาให้มูลค่าคืนกลับมา
18.Public Policy Risk ความเสี่ยงจากนโยบายภาครัฐ เช่น การปรับการจัดเก็บภาษีที่สูงขึ้น อาจมีผลทำให้สินค้าและบริการแพงขึ้น
ขอบคุณข้อมูลจากเพจ Retirement Like SWAN
อ้างอิงบทความ Risks to Retirement Income 18 Ways to Lose it All
วางแผนประกันชีวิต
-
การวางแผนประกันชีวิตในแต่ละช่วงวัย มีความสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการประสบความสำเร็จในการวางแผนการเงินใน...
-
เมื่อเราสมัครทำประกัน สิ่งสำคัญของสิทธิประโยชน์สิ่งที่เราจะได้รับที่ควรทราบเป็นเรื่องแรก คือ วันเริ่...
-
ในยุคที่เศรษฐกิจขาลงเนื่องจากสถานการณ์ covid-19 โดยคาดว่าเศรษฐกิจประเทศไทยจะปรับตัวดีขึ้นแบบ Nike-sh...
-
โรคร้ายแรงไม่ได้ไกลตัวอย่างที่คิด มาดูตัวเลขสถิติกันค่ะ ค่าเฉลี่ย คนไทย17คน มีโอกาสเป็นโรคร้ายแรง1ค...
-
- การวางแผนเกษียณ คือ การวางแผนการใช้ชีวิตและการเตรียมเงินเพื่อใช้หลังเกษียณ โดยรูปแบบการใช้ชีวิตที่เลือก จะเป็นตัวกำหนด 1.มูลค่ากองทุนเกษียณที่ต้องเตรียม 2.รูปแบบทรัพย์สินที่จะ...
- รู้หรือไม่ว่า เรามีระยะเวลาทำงานหาเงินน้อยกว่าเวลาที่เราต้องใช้เงินมากถึง 2-3 เท่า เรามีช่วงเวลาหาเงินได้ประมาณ 35-45 ปีแต่เราจะต้องใช้เงินนั้นยาวไปถึง 80 ปีเลยทีเดียว ส่วนเ...
- ยิ่งคุณรู้จักจัดการค่าใช้จ่ายให้เหลือออมได้มากเท่าไหร่ บวกกับรู้จักวิธีลงทุนให้เงินงอกเงยในความเสี่ยงที่เหมาะสม คุณก็เข้าใกล้การเกษียณเร็ว (FIRE movement) ได้มากขึ้นเท่านั้น อ...
- 5 ประเภทของ Financial Independence คุณอยากมีชีวิตเกษียณแบบไหน ตามแนวคิดของการเกษียณเร็วแบบ FIRE Movement (Financial Independence Retire Early) ที่พูดถึงการเตรียมเงินก้อนใหญ่ เพ...
- 4 วิธีการหาค่าใช้จ่ายหลังเกษียณ Retirement Spending วิธีที่นิยมใช้ ในการคาดการณ์กองทุนเกษียณ คือ คำนวณหาค่าใช้จ่ายในปีแรกของการเกษียณ มาให้ได้ก่อน แล้วสมมติว่าทุกปีเราจะใช้เงินคง...
- เครื่องมือทางการเงิน ที่นิยมใช้เป็นแผนเกษียณ มีได้หลายวิธี ซึ่งแต่ละวิธีให้ประโยชน์และข้อควรระวังที่แตกต่างกัน จึงขอยกตัวอย่างวิธีเตรียมเงินวัยเกษียณที่เป็นที่นิยมดังนี้ 1. ออมผ่าน...
- วิธีคำนวณกองทุนเกษียณแบบ Fix Amount Inflation Adjusted การคำนวณกองทุนเกษียณโดยเอาจำนวนเงินที่ต้องการใช้แต่ละปี คูณกับจำนวนปีที่เราคาดว่าจะมีชีวิตอยู่ เป็นวิธีที่ทำให้เราคำนวณเงินออ...
- Sequence of Returns Risk (SOR)หนึ่งในความเสี่ยงที่ทำให้เงินเก็บวัยเกษียณหมดเร็วขึ้น Sequence of Returns Risk คือ ความเสี่ยงที่มาพร้อมกับการถอนเงินออกจากกองทุนที่เราลงทุนในเครื่องมื...
- ปัจจุบันคนวัยเกษียณยังพึ่งพารายได้จากลูกหลานเป็นหลัก รองลงมาคือ บางส่วนยังต้องทำงานหารายได้ต่อ มีเป็นส่วนน้อยที่จะสามารถดำรงชีวิตได้ด้วยเงินออมของตนเองที่ออมไว้ตั้งแต่วัยทำงาน แต่เ...
- วางแผนเกษียณพร้อมลดหย่อนภาษี เลือกใช้ RMF หรือ ประกันบำนาญดี?? คำถามที่หลายคนกำลังคิดเปรียบเทียบกันอยู่ในเวลานี้ หากต้องการใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีเพิ่มแล้วอยากวางแผนเกษียณไปด้วย...
- 10 ข้อผิดพลาดทางการเงินที่ทำลายเป้าหมายเกษียณก่อนวัยของคุณ การไปถึงเป้าหมายของการเกษียณได้อย่างรวดเร็ว มีเงินทำงานให้เรา ได้มีอิสรภาพในการใช้ชีวิตที่ชอบ ไม่ใช่แค่เพียงเลือกลงทุน...
- เตรียมเงินให้ลูกเรียนหนังสือ ก็อย่าลืมเตรียมเงินเกษียณให้กับตัวเราเองในวันที่ไม่มีรายได้ด้วย พ่อแม่ทุกคนรักลูก ปรารถนาให้ลูกได้รับในสิ่งดีที่สุด การให้การศึกษาที่ดีเป็นการให้สิน...
- เราทุกคนรู้ว่าต้องเก็บเงินไว้ใช้ในยามแก่ชรา ให้มากเพียงพอกับอายุที่มีโอกาสจะอยู่ได้ยาวนานขึ้น จนถึงอายุ 90 ปี เมื่อคิดเป็นจำนวนเงินที่คาดว่าใช้ให้เพียงพอแล้ว มันมากมายมหาศาล จนแทบอ...
- ถ้าคุณคือคนอายุ 40-50 ปี คุณคือผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากสังคมผู้สูงวัย ตอนนี้ประเทศไทยเป็นประเทศ "แก่ก่อนรวย" ไปแล้ว ในยุคที่เราเข้าถึงข้อมูลความรู้ในการวางแผนทางการเงินได้มา...
- ถอนเงินเกษียณด้วยวิธี Bucket Strategy ดีกว่าจริงหรือ